Tag Archives: Open Access

Avoiding Predatory Websites II

https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/5/52/Birds_that_hunt_and_are_hunted_%286301742533%29.jpg/419px-Birds_that_hunt_and_are_hunted_%286301742533%29.jpg

As mentioned in the first part of this blog entry, predatory open access publishing has become a serious problem in the scholarly world.

Continue reading Avoiding Predatory Websites II

The Changes in Researchers’ Expectations of Libraries and Publishers: Findings from SCREAL Survey

หัวข้อเรื่อง The Changes in Researchers’ Expectations of Libraries and Publishers: Findings from SCREAL Survey บรรยายในการประชุม OCLC ครั้งที่ 6 วันที่ 13 ตุลาคม 2557 ณ Jeju Grand Hotel สาธารณรัฐเกาหลี เป็นเรื่องความคาดหวังของนักวิจัยในการเข้าถึงข้อมูลของห้องสมุดและสำนักพิมพ์: กรณีศึกษาจาก SCREAL Survey บรรยายโดย Yoshinori Sato จาก Tohoku Gakuin University ประเทศญี่ปุ่น

งานวิจัยนี้ กล่าวถึง การสำรวจการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศญี่ปุ่น ด้วย SCREAL Survey  ซึ่ง   SCREAL ย่อมาจาก The Standing Committee for Research on Academic Libraries  เป็นคณะกรรมการที่ตั้งเขึ้นเพื่อทำวิจัยห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา  ตั้งแต่ปี 2550  ได้แก่

  1. Hiroshi Itsumura, University of Tsukuba
  2. Keiko Kurata, Keio University
  3. Hiroya Takeuchi, Chiba University
  4. Kenji Koyama, Nihon University
  5. Mine Shinji, Mie University
  6. Syun Tutiya, NIAD-UE
  7. Sho Sato, Doshisha University
  8. Yoshinori Sato, Tohoku Gakuin University

โดยผลการวิจัยมี ดังนี้

Continue reading The Changes in Researchers’ Expectations of Libraries and Publishers: Findings from SCREAL Survey

แหล่งสารสนเทศวิทยานิพนธ์

การค้นหาวิทยานิพนธ์สามารถสืบค้นได้จากหลายแหล่งสารสนเทศ บางแหล่งฟรี บางแหล่งต้องเป็นสมาชิก

เริ่มต้นง่ายๆ สืบค้นจากฐานข้อมูลในห้องสมุด (Library catalogue) ของมหาวิทยาลัยก่อนขยับมาควรค้นจาก IR (Institutional repositories) ของมหาวิทยาลัย ซึ่งห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ดำเนินการกันอยู่ แหล่งนี้เป็นวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์

อีกแหล่งคือ Thai Digital Collection (TDC) ของ สกอ. หรือจะใช้ UC (Union Catalog) ของประเทศไทยคู่กับ OAIster ซึ่งเป็นสหบรรณานุกรม (Union Catalog) เช่นกัน ด้วยจำนวนระเบียนที่มากกว่า 30 ล้านระเบียน

ในส่วนของ IR ควรจะได้สืบค้นจาก IR ของประเทศอื่นๆ ด้วยเช่นกัน เพราะ IR จะเป็นแหล่งที่รวบรวมคลังความรู้ ผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัยของสถาบัน ซึ่งมักจะรวมวิทยานิพนธ์ด้วย เช่น

Continue reading แหล่งสารสนเทศวิทยานิพนธ์