ร่วมกิจกรรม “ธรรมศาสตร์วิชาการเพื่อประชาชน” มีผู้สนใจชมศูนย์การเรียนรู้ฯและหอสมุดป๋วยฯ สุดคึกคัก

ระหว่างวันที่ 12-13 พฤศจิกายน 2557 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรม “ธรรมศาสตร์วิชาการเพื่อประชาชน”  ณ ศูนย์การประชุมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต เพื่อนำแนะหลักสูตรการเรียนการสอนและกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัยให้แก่นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาและกลุ่มผู้ปกครอง เสมือนการเปิดรััวเหลือง-แดง ดินแดนเสรีภาพให้น้องๆ ได้มาเยี่ยมชม  ซึ่งจะสถานที่จัดการแบ่งออกเป็น 4  แห่ง ได้แก่ ศูนย์การประชุมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นจุดลงทะเบียน อาคารปิยะชาติ ซึ่งจะมีบูธแนะนำคณะต่างๆ ในกลุ่มสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ สำหรับอาคารเรียนรวม SC. เป็นกลุ่มคณะสายสังคมศาสตร์ และอาคารบรรยายเรียนรวม บร. 4 กลุ่มคณะสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Continue reading ร่วมกิจกรรม “ธรรมศาสตร์วิชาการเพื่อประชาชน” มีผู้สนใจชมศูนย์การเรียนรู้ฯและหอสมุดป๋วยฯ สุดคึกคัก

การประเมินผลการใช้Œสื่อมัลติมีเดีย THE SMART ของ ครูบรรณารักษในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร

ผู้เขียน (คุณวริศรา กาสา)  ได้กล่าวไว้ว่า  สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือช่วยถ่ายทอดความรู้Œ ความเข้าใจ ความรู้Œสึก เพิ่มพูนทักษะและประสบการณ์    กระตุ้Œนให้Œเกิดการพัฒนาศักยภาพในการคิด เสริมสรŒ้างคุณธรรม จริยธรรม และค่‹านิยมแก่‹ผู้Œเรียน ในขณะเดียวกันสื่อไม่ใช่‹ ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่สามารถแก้Œปั˜ญหา หรือนำมาใชŒ้ได้Œเลย  แต่ทุกอย่างยอมขึ้นอยู่กับผูŒ้สอนว่‹าจะมีวิธีการนำเสนออย่‹างไรให้Œผู้Œเรียนบรรลุวัตถุประสงค์ในการรับรู้ และผู้เรียนนำมาใช้ให้ได้ประโยชน์อย่างไร

ติดตามรายละเอียดได้ที่นี้

รายการอ้างอิง:
คุณวริศรา กาสา เรื่อง การประเมินผลการใช้Œสื่อมัลติมีเดีย THE SMART ของ ครูบรรณารักษในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร.        โดมทัศน์ 32,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2554)

Turnitin : Anti Plagiarism Software

turnitin2

Turnitin เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการ (Plagiarism Prevention)  เช่น บทความ ผลงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เป็นต้น โดยทำการการเปรียบเทียบคำซ้ำกับเอกสารต้นฉบับแบบคำต่อคำ และแสดงผลการเปรียบเทียบเป็นเปอร์เซ็น พร้อมชี้แหล่งที่มาของข้อมูลเอกสารต้นฉบับ ทำให้ง่ายต่อผู้ใช้ในการในการประเมินผลงานชิ้นนั้นๆ

Continue reading Turnitin : Anti Plagiarism Software

วัฒนธรรมองค์กรกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของห้องสมุดมหาวิทยาลัย

เมื่อกล่าวถึงการพัฒนาองค์การในยุคปัจจุบัน วัฒนธรรมองค์กรเป็นศัพท์ที่ต้องกล่าวถึง เพราะว่ามีบทบาทสำคัญทางการบริหาร เป็นกรอบวิธีการปฏิบัติสำหรับบุคคลากรในองค์การ ที่นอกเหนือจาก กฎ ระเบียบที่บังคับใช้ในองค์การ วัฒนธรรมองค์กรจึงมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของคนในองค์การ ที่สะท้อนภาพ กระบวนการทางความคิด การวางแผนยุทธศาสตร์การตัดสินใจขององค์การว่าควรมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร และองค์การที่ต้องปรับตัวอย่างรวดเร็วนั้น ต้องใช้วัฒนธรรมองค์กรเป็นตัวกำหนดทิศทางของการพัฒนาโดยใช้ทรัพยากรมนุษย์เป็นกลไกในการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ภายใต้บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในสังคมโลกห้องสมุดมหาวิทยาลัย ควรกำหนดวัฒนธรรมตนเองอย่างไรในภาวะปัจจุบัน  ติดตามรายละเอียดได้ที่นี้

รายการอ้างอิง:
สุกัญญา มกุฏอรฤดี  เรื่อง วัฒนธรรมองค์กรกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของห้องสมุดมหาวิทยาลัย. โดมทัศน์ 32,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2554)

ในหลวงของหนู

ได้อ่านบทความในวารสารโดมทัศน์เรื่อง ในหลวงของหนู แล้วรู้สึกชื้นใจกับความบริสุทธิ์ของเด็ก ๆ ที่มีความจริงใจ คิดอย่างไรก็แสดงออกอย่างนั้น  แค่คำถามที่ว่า หนูรู้จักในหลวงไหม หนูรักในหลวงไหม และ หนูอยากให้อะไรเป็นของขวัญในหลวงในวันเกิดท่าน คำตอบมากมายที่อ่านแล้วพวกคุณจะยิ้มและหัวเราะในความคิดของเด็ก ๆ ลองมาอ่านกันดูสิว่าเด็กเหล่านี้เขาคิดอะไร   

ติดตามรายละเอียดได้ที่นี้

รายการอ้างอิง:
ชูมาน ถิรกิจ . เรื่อง ในหลวงของหนู. โดมทัศน์  32  ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2554).

 

Guide to Writing Academic Articles: Part IX

Footnotes

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/3/35/Sixteen_feet_in_profile%2C_of_women_and_men._Coloured_etching._Wellcome_V0011120.jpg/451px-Sixteen_feet_in_profile%2C_of_women_and_men._Coloured_etching._Wellcome_V0011120.jpg

Whether you should use footnotes or not in your academic article or thesis depends on the subject you are writing about.

Continue reading Guide to Writing Academic Articles: Part IX

3 Years ETDA Enabling Digital Economy ชีวิต เศรษฐกิจ ดิจิทัล

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2557 เป็นวันที่สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) หรือ ETDA จัดงาน 3 Years ETDA Enabling Digital Economy ชีวิต เศรษฐกิจ ดิจิทัล ขึ้น ณ รอยัลพารากอน ฮอลล์ หลังจากที่ทำงานมา 3 ปีแล้ว ในหลายสถานที่และได้มีอาคารสำนักงานอย่างถาวรที่ The 9th Tower ชั้น 20-22

สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในฐานะที่เป็นพันธมิตรในการจัดทำห้องสมุดดิจิทัลให้กับ สพธอ. ได้เข้าร่วมงานดังกล่าว ด้วย

3 Years ETDA Enabling Digital Economy ชีวิต เศรษฐกิจ ดิจิทัล
3 Years ETDA Enabling Digital Economy ชีวิต เศรษฐกิจ ดิจิทัล

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สพธอ.) หรือ ETDA ตั้งขึ้นเพื่อผลักดันการทำ e-Commerce, e-Transaction หรือแม้แต่บริการทางออนไลน์ของรัฐ จึงมีภารกิจทั้งในด้านการพัฒนาและส่งเสริมการทำธุรกรรมทางออนไลน์ และในด้านที่ต้องยกระดับความเชื่อมั่น เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อการทำธุรกรรมออนไลน์ต่างๆ Continue reading 3 Years ETDA Enabling Digital Economy ชีวิต เศรษฐกิจ ดิจิทัล

โครงงาน “How to use library like a boss” จุดประกายนักศึกษารักหนังสือและห้องสมุด

หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์  นอกจากจะเป็นห้องสมุดกลางของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตแล้ว ยังเป็นพื้นที่ให้น้องๆ ได้เรียนรู้และทำกิจกรรมต่างๆ มากมาย รวมทั้งการเป็นสถานที่ให้น้องๆ ได้คิดและสร้างสรรค์โครงงานใน TU 100  วิชาพลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคม  Continue reading โครงงาน “How to use library like a boss” จุดประกายนักศึกษารักหนังสือและห้องสมุด

สำนักงานศิษย์เก่าสัมพันธ์ เยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้ฯ และหอสมุดป๋วยฯ

1 (1)
คณะผู้เข้าร่วมกิจกรรม“หอมกลิ่นยูงทอง เยือนถิ่นแม่โดมที่รังสิต” สำนักงานศิษย์เก่าสัมพันธ์ถ่ายภาพหมู่เป็นที่ระลึก

วันนี้ (11 พ.ย.57) คณะผู้เข้าร่วมกิจกรรมหอมกลิ่นยูงทอง  เยือนถิ่นแม่โดมที่รังสิต” ซึ่งจัดโดยสำนักงานศิษย์เก่าสัมพันธ์ ได้มาเยี่ยมชมการให้บริการของศูนย์การเรียนรู้กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และหอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์  มธ.ศูนย์รังสิต โดยส่วนใหญ่ชื่นชมการบริการที่ศูนย์การเรียนรู้ฯ ที่ทันสมัยและสะดวกสบาย โดยหวังว่าห้องสมุุดจะเปิดบริการให้แก่ศิษย์เก่าด้วย

 

Guide to Writing Academic Articles: Part VIII

Choosing the right keywords

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/af/Cl%C3%A9s_de_la_ville_de_Lyon.jpg/640px-Cl%C3%A9s_de_la_ville_de_Lyon.jpg

If you have taken time and trouble to write an academic article or other published work, you will want others to be able to find it.

Continue reading Guide to Writing Academic Articles: Part VIII