Tag Archives: การสัมภาษณ์

บันทึกคำสัมภาษณ์ พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

111

  บันทึกคำสัมภาษณ์ พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

หนังสือนี้จัดพิมพ์โดยโดยภาควิชานิติศึกษาทางสังคม ปรัชญา และประวัติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๓

เหตุผลที่จัดพิมพ์เพื่อรวบรวมความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์กฎหมายจากตำราและเอกสารเก่าจากศิลาจารึก ใบลาน สมุดข่อย ตลอดจนขอสัมภาษณ์จากท่านผู้รู้ เพื่อนำมารวบรวมไว้อันเป็นประโยชน์จากการค้นคว้าและวิจัย โดย พระยามานวราชเสวีเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดทำประมวลกฎหมายในยุคนั้น จากคำสัมภาษณ์ทำให้ได้ความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่สำคัญบางประการในการจัดทำประมวลกฎหมายของไทย โดยเฉพาะการจัดทำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

เนื้อหาของหนังสือเล่มนี้ เป็นข้อมูลได้จากการสัมภาษณ์ พระยามานวราชเสวี     โดย ผู้ร่วมสัมภาษณ์ประกอบด้วย ศ.ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์ ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส  รศ.มาลี พฤกษ์พงศาวลี และ ผศ.ดร.กิตติศักดิ์ ปรกติ  ท่านได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการชำระสะสาง และการร่างกฎหมายไทยทั้งกฎหมายแพ่งฯและกฎหมายอาญาในยุคเริ่มแรกว่ามีความคิดมาจากที่ใด ทำไมถึงยึดประเทศนั้นเป็นต้นแบบ มีใครเป็นบุคคลสำคัญในการร่างกฎหมายสมัยนั้นบ้าง   สถานะกฎหมายตราสามดวงในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ภาษาที่พิมพ์ในเล่มนี้เป็นภาษาพูดเพราะถอดเทปคำต่อคำ

บริษัท สำนักพิมพ์วิญญูชน จำกัด ได้นำหนังสือเล่มนี้มาจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยได้เพิ่มเติมบทคำสัมภาษณ์ครั้งที่ ๒  และ Index of civil code ดรรชนีที่มาของบทกฎหมายในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๑-๕  จึงเป็นหนังสือที่ทรงคุณค่าสำหรับวิชาประวัติศาสตร์กฎหมายไทยเล่มหนึ่ง

บรรณานุกรม

มานวราชเสวี (ปลอดวิเชียร), พระยา. บันทึกคำสัมภาษณ์พระยามานวราชเสวี. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๓.

OCLC Conference 2014 : Interview with FM88 MHz

 

OCLC APRC 2014 Membership Conference group picturesOCLC APRC 2014 membership conference group picture

 

Today, Khun Tarin Unksakul from radio FM88 interviewed Khun Srichan Chancheewa, director of the Thammasat University Libraries, about the OCLC Conference 2014 (https://oclc.org/en-asiapacific/home.html):

 

RADIO FM88: What is the background of OCLC? How is it important?

KHUN SRICHAN CHANCHEEWA: The OCLC is a non-profit library cooperative providing research, programs and services that help libraries share the world’s knowledge and the work of organizing it. OCLC members bring together in their communities, manage access to e-content, provide hard-to-find resources, share fragile archival collections, and more. By joining together, member libraries benefit from reduced costs and increased access to information held in libraries around the world. The overall benefit for OCLC members is to acquire access to global resources and deliver what our users need.

 

RFM88: How did the OCLC APRC membership conference go? Its objective/theme was “Collaboration in the Asia Pacific Century.”

KSC: The OCLC Asia Pacific Executive Committee organized its annual conference to connect a regional network of libraries in learning and collaboration. We believe that each individual library has knowledge and competence to share and contribute. Each year, we try to find library innovations and look for speakers with local Asia Pacific expertise to share experiences. In 2014, we had speakers from Korea, Japan, the Philippines, China, Taiwan, Malaysia, Singapore, Australia, New Zealand and Thailand who presented many interesting ideas. Mr. David T. Palmer from the University of Hong Kong spoke on “Collaborative Management of Institutional Assets: HKU’s CRIS,” discussing how the University of Hong Kong library improved services to the community.

 

RFM88: As chairperson of the APRC selected by member libraries in 2014, what is your role? How does Thailand benefit from it?

KSC: I am the main organizer and master of ceremonies for this event. I select the speakers, introduce them, and conduct an online survey to evaluate the event. Thailand’s benefit is that we meet new friends and learn from them. Our visit to Korea’s libraries helps us to develop new ideas and services for our users.

 

RFM88: What did you learn from this year’s conference, and how will this improve Thailand’s libraries?

KSC: I believe that the highlight of this year’s conference was Mr. Palmer’s presentation on collaborative management of institutional assets. He demonstrated how his library analyzes university assets and provide a complete dataset to the public. At Thammasat, we will apply this new knowledge to our KM website and make it available to the public soon.

 

RFM88: How would you wish to see libraries in Thailand improve in the near future?

KSC: Libraries in the world today cannot stand alone. We must learn, share, and magnify our ideas, experiences, and expertise together. We believe that together, we can optimize services. Together, we can share costs and reduce the augmentation rate of each library’s per-unit costs. Libraries in Thailand should use research-supported innovation, improving information services to achieve a digital society of research. We should communicate openly, honestly, and accurately with one another. I believe that all Thai libraries have valuable resources for readers and we should agree to share these resources with one another as freely as possible.

Continue reading OCLC Conference 2014 : Interview with FM88 MHz

คณะทำงานดำเนินงานโครงการจัดทำแผนพัฒนาสำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เยี่ยมชมสำนักหอสมุด มธ.

วันที่ 30 ตุลาคม 2557 เวลา13.30 – 16.00 น. ผอ. สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (นางศรีจันทร์ จันทร์ชีวะ) ได้ต้อนรับคณะทำงานดำเนินงานโครงการจัดทำแผนพัฒนาสำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 4 คน เพื่อเข้าสัมภาษณ์และจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสำนักฯ  เพื่อจัดทำแผนพัฒนาสำนักงานวิทยทรัพยากร เพื่อนำผลที่ได้มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานของสำนักงานฯ ให้เป็นหน่วยงานสน้บสนุนที่มีการให้บริการด้านทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมัย  หลังการสัมภาษณ์และแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกันแล้ว คณะทำงานฯ ได้เยี่ยมชมหอสมุดปรีดี พนมยงค์

คณะทำงานฯ เยี่ยมชมหอสมุดปรีดีฯ
คณะทำงานฯ เยี่ยมชมหอสมุดปรีดีฯ
ถ่ายภาพร่วมกันระหว่างเยี่ยมชม
ถ่ายภาพร่วมกันระหว่างเยี่ยมชม