All posts by นางพัชรี การุณ

ญี่ปุ่น-ไทย-อุษาคเนย์ (Japanese Scholarships on Thailand and Southeast Asia)

japanthaiseas_01

 

ญี่ปุ่น-ไทย-อุษาคเนย์ (Japanese Scholarships on Thailand and Southeast Asia) บรรณาธิการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, ฮายะโอะ ฟูกุย (Hayao Fukui) เป็นการรวมบทความของนักวิชการญี่ปุ่น ติดตามรายละเอียดได้ที่นี่

แม่โขง-สาละวิน (Mekong-Salaween) สาละวิน-แม่โขง (Salaween-Mekong)

booklisthmekongsalween_04booklisthmekongsalween_05

 

 

 

 

แม่โขง-สาละวิน (Mekong-Salaween สาละวิน-แม่โขง (Salaween-Mekong) บรรณาธิการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ  แม่น้ำทั้งสองสายนี้ คือ เส้นเลือดใหญ่ที่ให้ชีวิตแก่ภูมิภาค ครอบคลุมพื้นที่ของประเทศจีน พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ติดตามอ่านรายละเอียดได้ที่นี่ 

ลุ่มน้ำโขง : วิกฤต การพัฒนา และทางออก (The Mekong Basin : Crisis – Development – Alternatives)

ลุ่มน้ำโขง วิกฤต การพัฒนา และทางออก
ลุ่มน้ำโขง วิกฤต การพัฒนา และทางออก

 

ลุ่มน้ำโขง : วิกฤต การพัฒนา และทางออก (The Mekong Basin : Crisis – Development – Alternatives) บรรณาธิการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ กัมปนาท ภักดีกุล  ติดตามรายละเอียดได้ที่นี่

แม่น้ำโขง : จากต้าจู – ล้านช้าง – ตนเลธม ถึง กิ๋วล่อง (The Mekong : From Dza Chu – Lancang – Tonle Thom to Cuu Long)

แม่น้ำโขง
แม่น้ำโขง

แม่น้ำโขง : จากต้าจู – ล้านช้าง -ตนเลธม ถึง กิ๋วล่อง (The Mekong : From Dza Chu – Lancang – Tonle Tom to Cuu Long) บรรณาธิการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ อัครพงษ์ ค่ำคูณ ติดตามรายละเอียดได้ที่นี่

อยุธยา : ประวัติศาสตร์และการเมือง (Ayutthaya : History and Politics)

อยุธยา : ประวัติศาสตร์และการเมือง
อยุธยา : ประวัติศาสตร์และการเมือง

อยุธยา : ประวัติศาสตร์และการเมือง (Ayutthaya : History and Politics) ผู้เขียน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ บรรณาธิการ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์  เป็นการรวมบทความที่ผู้เขียนได้เขียนไว้ในโอกาสต่างๆ ตั้งแต่ปลายทศวรรษ 2510 เป็นต้นมา ประกอบด้วย 2 ภาค ภาคแรกเป็นเรื่องเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์และบุคคลสำคัญ ภาคที่สองเน้นการวิเคราะห์เรื่องเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของอยุธยา ติดตามอ่านได้ที่นี่ 

อยุธยา (Discovering Ayutthaya)

อยุธยา
อยุธยา

อยุธยา (Discovering Ayutthaya) บรรณาธิการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ผู้เขียน กาญจนี ละอองศรี, ธีรภาพ โลหิตกุล, ภูธร ภูมะธน, ทรงยศ แววหงษ์, ธีรวัต ณ ป้อมเพชร, ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์, ศุภรัตน์ เลิศพาณิชกุล, สายชล สัตยานุรักษ์, สุเนตร ชุตินธรานนท์ ฯลฯ คำนำโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ประกอบด้วยเรื่องราวในแง่มุมต่างๆ ของราชอาณาจักรอยุธยา เป็นเสมือน สารคดีท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ หรือ คู่มือนำเที่ยว ติดตามอ่านได้ที่นี่

นี่ เสียมกุก (Syam Kuk)

นี่ เสียมกุก
นี่ เสียมกุก

นี่ เสียมกุก (Syam Kuk) ผู้เขียน Bernard-Philippe Groslier ผู้แปล (ภาษาอังกฤษ) Benedict Anderson ผู้แปล (ภาษาไทย) กุลพัทธ์ มานิตยกุล, เอเลียต แฮร์ส และ อัครพงษ์ ค่ำคูณ บรรณาธิการแปล ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เชื่อต่อกันมาว่า เสียม คือ คนไทย แต่ผู้เขียน คือ ศาสตราจารย์ โกลิเยร์ มีข้อสรุปที่อาจแตกต่างกันไป ติดตามอ่านได้ที่นี่

อยุธยากับเอเชีย (Ayutthaya and Asia)

อยุธยากับเอเชีย
อยุธยากับเอเชีย

อยุธยากับเอเชีย (Ayutthaya and Asia) บรรณาธิการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็นการรวมบทความที่เสนอในการสัมมนาทางวิชาการนานาชาติเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 ติดตามได้ที่นี่

From Japan to Arabia : Ayutthaya’s Maritime Relations with Asia

 

fromjapan_01
From Japan to Arabia : Ayutthaya’s Maritime Relations with Asia

From Japan to Arabia : Ayutthaya’s Maritime Relations with Asia บรรณาธิการ Kennon Breazeale คำนำโดย Yoneo Ishii และ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็นเรื่องเกี่ยวกับอาณาจักรอยุธยากับความสัมพันธ์ประเทศอาหรับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  ติดตามรายละเอียดได้ที่นี่

ร.5 เสด็จอินเดีย (India in 1872 : As seen by the Siamese)

ร.5 เสด็จอินเดีย (India in 1872 : As seen by the Siamese) ผู้เขียน ดร.สาคชิตอนันท สหาย แปลโดย กัณฐิกา ศรีอุดม บรรณาธิการโดย ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์  การเสด็จอินเดียในปี พ.ศ. 2414 เป็นรากฐานสำคัญในการปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดิน การดูงาน 47 วันในอินเดีย ทำให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้แบบอย่างสำหรับประเทศสยาม ติดตามอ่านได้ที่นี่