พนักงาน คือ ผู้ที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของหน่วยงาน หากหน่วยงานใดมีพนักงานดี หน่วยงานนั้นก็จะมีความเจริญก้าวหน้า พนักงานจึงเป็นบุคคลที่มีความสำคัญไม่ต่างจากลูกค้าของหน่วยงาน ดังนั้น จึงจำเป็นต้องแสวงหาพนักงานที่ดี มีคุณภาพ มีความรู้ ประสบการณ์ รวมถึงลักษณะส่วนบุคคล ทัศนคติที่ดีในการทำงาน การคัดเลือกพนักงานเข้ามาทำงานภายในหน่วยงาน จึงต้องอาศัยบรรทัดฐานและหลักเกณฑ์ที่ดีในการพิจารณาคัดเลือก ดังนี้ Continue reading หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกพนักงาน มี 7 ประการ
All posts by นางบังอร ไกรสัย
พรหมวิหาร 4 หลักปฏิบัติที่เจ้าคนนายคนพึงมี
ผู้บริหาร นอกจากจะต้องทราบหลักการด้านบริหารงานแล้ว จะต้องมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่จะช่วยส่งเสริมให้ครบถ้วน รวมถึงความสามารถด้านการบริหารงานและด้านบริหารบุคคล เพื่อที่จะนำหลักการที่เหมาะสมมาใช้ได้อย่างถูกที่ ถูกเวลา และถูกกับบุคลากร ตามคำสอนของพุทธศาสนา เช่น พรหมวิหาร 4 ถือเป็นสิ่งที่ผู้บริหารพึงมี เพื่อใช้ในการครองใจผู้ใต้บังคับบัญชา ประกอบด้วย เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ดังนี้ Continue reading พรหมวิหาร 4 หลักปฏิบัติที่เจ้าคนนายคนพึงมี
เวียดนามในเมืองไทย (The Vietnamese in Thailand)
เวียดนามในเมืองไทย (The Vietnamese in Thailand) ผู้เขียน ผุสดี จันทวิมล บรรณาธิการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ กาญจนี ละอองศรี เป็นเรื่องของนโยบายการปกครองชาวเวียดนามที่เข้ามาในประเทศไทยสมัยต้นรัตนโกสินทร์ เมื่อมหาอำนาจฝรั่งเศสได้ยึดครองประเทศเวียดนาม และเรียกร้องสิทธิให้ชาวเวียดนามในไทยจดทะเบียนเป็น “คนในบังคับฝรั่งเศส” โดยพยายามคุกคามประเทศไทย ส่งผลให้เราต้องยกมณฑลบูรพาให้ประเทศมหาอำนาจ ติดตามรายละเอียดได้ที่นี่
สิบสองพันนา : รัฐจารีต (Sipsonghanna : A traditional State)
สิบสองพันนา : รัฐจารีต (Sipsonghanna : A traditional State) ผู้เขียน ณัชชา เลาหศิรินาถ บรรณาธิการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ กาญจนี ละอองศรี เป็นเรื่องของการเผชิญปัญหาการแย่งชิงผลประโยชน์ทางการค้าและการเมือง ระหว่างจีน อังกฤษ และฝรั่งเศส ของรัฐเล็ก ๆ ที่มีชื่อว่า สิบสองพันนา และในที่สุดดินแดนดังกล่าวได้ผนวกรวมเป็นส่วนหนึ่งของจีน ติตตามรายละเอียดที่ได้ทีนี่
สังคโลก-สุโขทัย-อยุธยากับเอเชีย (Sangkhalok-Sukhothai-Ayutthaya and Asia)
สังคโลก-สุโขทัย-อยุธยากับเอเชีย (Sangkhalok-Sukhothai-Ayutthaya and Asia) บรรณาธิการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ กล่าวถึงประเด็นทางวิชาการของการค้าสังคโลกตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงอยุธยา ติดตามรายละเอียดได้ที่นี่
สุวรรณภูมิ ผู้คนและแผ่นดิน
สุวรรณภูมิ ผู้คนและแผ่นดิน บรรณาธิการโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ นำเสนอเรื่องราวของประวัติศาสตร์อารยธรรมแผ่นดิน จากการเสนอผลงานวิชาการของนักวิชาการอุษาคเนย์ ได้ที่ศึกษาค้นคว้าติดตามเรื่องราวสุวรรณภูมิ ติดตามรายละเอียดได้ที่นี่
รัชกาลที่ 5 : สยามกับอุษาคเนย์และชมพูทวีป (King Chulalongkorn : Siam-Southeast Asia-Jambudvipa)
รัชกาลที่ 5 : สยามกับอุษาคเนย์และชมพูทวีป (King Chulalongkorn : Siam-Southeast Asia-Jambudvipa) บรรณาธิการโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ อรอนงค์ ทิพย์พิมล เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสยามกับประเทศเพื่อนบ้านและเจ้าอาณานิคมของแต่ละประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5 ติดตามรายละเอียดได้ที่นี่
พระเจ้ากรุงสยามกับเซอร์จอห์น เบาว์ริง (The King of Siam and Sir John Bowing)
พระเจ้ากรุงสยามกับเซอร์จอห์น เบาว์ริง (The King of Siam and Sir John Bowing) บรรณาธิการโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และกัณฐิกา ศรีอุดม ในรัชสมัยพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนประเทศ รวมทั้งการทำสนธิสัญญาเบาว์ริง ติดตามรายละเอียดได้ที่นี่
การอุดมศึกษาในญี่ปุ่น : ความรุ่งเรืองและความล้มเหลว (Higher Education in Japan : Its Take-off and Crash)
การอุดมศึกษาในญี่ปุ่น : ความรุ่งเรืองและความล้มเหลว (Higher Education in Japan : Its Take-off and Crash) ผู้เขียน นางามิ มิชิโอะ (Nagai Michio) แปลโดย ชนิดา รักษ์พลเมือง เป็นเรื่องที่แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางการศึกษาของญี่ปุ่นในอดีต จนถึงการเป็นสังคมอุตสาหกรรม ถือเป็นบทเรียนสำหรับประเทศไทยในช่วงที่เริ่มปฏิรูปทางการศึกษา สามารถติดตามรายละเอียดที่นี่
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น (Nihon Shakai No KoZo)
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น (Nihon Shakai No KOZO) ผู้เขียน ฟูกูกาเกะ ทาดาชิ (Fukutake Tadashi) แปลโดย บุญยง ชื่นสุวิมล เป็นเรื่องของสังคมญี่ปุ่น ตั้งแต่ก่อนสงครามโลก ครั้งที่ 2 จนถึงปัจจุบัน สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่นี่