Tag Archives: สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มธ. เปิดตัวห้องสมุดดิจิทัล

“To be a leader in library service and information literacy with the most up-to-date information and technology to create an international network of cooperation between libraries.” หรือ สำนักหอสมุดเป็นผู้นำบริการ ส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยสารสนเทศและเทคโนโลยีนำสมัย สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดในระดับนานาชาติ

จากวิสัยทัศน์ของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ดังข้อความข้างต้น สำนักหอสมุด มธ. ได้เปิดตัวห้องสมุดดิจิทัล ในโอกาสครบรอบ 80 ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในวันที่ 27 มิถุนายน 2557 เพื่อแสดงถึงความสำเร็จส่วนหนึ่งที่บรรลุวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ โดยในวันนี้ (26 มิ.ย.) เวลา 14.00 น. ได้จัดงานแถลงข่าวและเปิดตัวห้องสมุดดิจิทัล

Continue reading มธ. เปิดตัวห้องสมุดดิจิทัล

แนวปฏิบัติที่ดีการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศสิ่งพิมพ์ (Printed materials) (พ.ศ. 2556-2560) สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

แนวปฏิบัติที่ดีการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศสิ่งพิมพ์ (Printed materials) (พ.ศ. 2556-2560) สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประกอบด้วย นโยบายเพื่อการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศสิ่งพิมพ์ (Printed materials) (พ.ศ. 2556-พ.ศ. 2560) สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ขั้นตอนและแนวปฏิบัติการดำเนินงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศสิ่งพิมพ์

แนวปฏิบัติที่ดีการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศสิ่งพิมพ์

Library Innovation using Linked Open Data

การบรรยาย Library Innovation using Linked Open Data  By Professor Vilas Wuwongse, Department of Electrical and Computer Engineering, Faculty of Engineering, Thammasart University วันที่ 10 สิงหาคม 2555 เวลา 13.30-16.00 น. ณ ห้องกิจกรรมเรวัต พุทธินันทน์ หอสมุดปรีด พนมยงค์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 

การบันทึกภาพการบรรยาย (ตอนที่ 1)

 

 

การบันทึกภาพการบรรยาย (ตอนที่ 2)

แนวปฏิบัติ เรื่่อง การกำหนดหัวเรื่องและเลขหมู่ทางการแพทย์ของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

แนวปฏิบัติ เรื่่อง การกำหนดหัวเรื่องและเลขหมู่ทางการแพทย์ของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประกอบด้วยแนวปฏิบัติเรื่องการกำหนดหัวเรื่อง การกำหนดหัวเรื่องภาษาไทย การกำหนดเลขหมู่ เขตข้อมูลที่ใช้ลงรายการทางบรรณานุกรมแก่ทรัพยากรสารสนเทศที่มีเนื้อหาทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และการแพทย์  เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างผู้ปฏิบัติงานในงานจัดการข้อมูลให้มีความเข้าใจและมีแนวปฏิบัติในการทำงานไปในทิศทางเดียวกัน

เนื้อหาของแนวปฏิบัติ