Tag Archives: การนำเสนอ

ENGLISH COMMUNICATION FOR LIBRARIANS AND INFORMATION PROFESSIONALS (EC-LIP) (ตอนที่ 6)

วันนี้ (15 กันยายน 2558)  เป็นวันสุดท้ายของหลักสูตร โดยสมาชิกของ Digital Literacy และ Training the Trainers แต่ละคนได้จัดทำสไลด์หรือ
นำอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อมานำเสนอในชั้นเรียน มีการแจ้งหัวข้อ พร้อมสาระสังเขป ก่อนที่จะนำเสนอ โดยก่อนที่จะถึงวันนำเสนอจริง วิทยากรได้ส่งข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อให้สมาชิกมีการเตรียมตัวอย่างเต็มที่

Following are the web resources that can help you achieve an effective presentation.

1.  Stress   Unlike Thai language which is mono syllabic, meaning that all syllables are stressed,  English has stress patterns and intonation which you need to follow  https://www.youtube.com/watch?v=bX-_YSDM7ic

Assignment 1. After your view the video, go back to the article, the Characteristics of the librarian and information Professionals in the web 2.0 era, identify the words used frequently in your profession.  Then learn to stress them properly Continue reading ENGLISH COMMUNICATION FOR LIBRARIANS AND INFORMATION PROFESSIONALS (EC-LIP) (ตอนที่ 6)

English Communication for Librarians and Information Professionals (EC-LIP) (ตอนที่ 5)

ครั้งหน้าจะเป็นครั้งสุดท้ายของการเรียน ทุกคนมีการบ้านในการนำเสนอคนละ 1 เรื่อง โดยการคิดหัวข้อ และใช้ความรู้ เทคนิคต่างๆ ที่วิทยากรให้มา ตอนนี้ ผู้เรียนได้คิดและส่งหัวข้อที่จะนำเสนอไปยังวิทยากรแล้ว เหลือช่วงเวลาของการเตรียมตัวในการนำเสนอ เช่นเคย วิทยากรได้ส่งเอกสารที่เป็นประโยชน์เพื่อ Self Study ดังนี้

Following are the web resources that can help you achieve an effective presentation Continue reading English Communication for Librarians and Information Professionals (EC-LIP) (ตอนที่ 5)

English Communication for Librarians and Information Professionals (EC-LIP) (ตอนที่ 4)

สำหรับการเรียนในครั้งที่ 2 นี้ วิทยากรได้แนะนำวิธีการนำเสนอในแต่ละส่วน กล่าวคือ

เนื้อหาหลักของการนำเสนอ (The main part of the presentation)
เป็นส่วนที่ผู้พูดต้องการบอกอะไรกับผู้ฟัง ในส่วนนี้ ต้องมีการจัดระบบความคิดในการนำเสนอ โดยเนื้อหาอาจจะมาจากเพื่อนๆ เพื่อนร่วมงาน หรือ การค้นหา เสาะหาความคิดใหม่ๆ จากบทความหลายๆ แหล่ง และใช้ graphic organizers หรือ mind map เข้ามาช่วย การใช้ graphic organizers มาใช้นั้น สามารถศึกษาได้จาก
http://education.wm.edu/centers/ttac/documents/articles/graphic_organizers.pdf

เมื่อได้ความคิดหรือข้อมูลแล้ว ต้องมีการเชื่อมโยงความคิดหรือข้อมูลเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เพื่อจะได้ทำให้การนำเสนอนั้นง่ายต่อการติดตาม อาจจะทำเป็น 2 แบบ กล่าวคือ Continue reading English Communication for Librarians and Information Professionals (EC-LIP) (ตอนที่ 4)

English Communication for Librarians and Information Professionals (EC-LIP) (ตอนที่ 3)

ตอนที่ 2 จบท้ายไว้ว่า ผู้เรียนได้รับแบบฝึกหัดให้เตรียมเนื้อหาเพื่อสำหรับการนำเสนอในชั้นเรียนโดยใช้บทความจากเรื่อง Becoming “Librarian 2.0”: The Skills, Knowledge, and Attributes Required by Library and Information Science Professionals in a Web 2.0 World (and Beyond)

ก่อนจะถึงวันเรียน วิทยากร ได้ส่ง Self study มาให้ผู้เรียนเช่นเคย ดังนี้

Self Study Two: Organizing  the Body of Your Presentation

After completing the reading and discussion about the characteristics of librarians and information personnel (LIP) from Self Study One, you have made your choices about  the content or the key message that you want to deliver in your presentation.

For instance,  if your group chose 3 key characteristics:  User focus, technology and learning, you would enter those in the body of your presentation. Continue reading English Communication for Librarians and Information Professionals (EC-LIP) (ตอนที่ 3)

English Communication for Librarians and Information Professionals (EC-LIP) (ตอนที่ 2)

เมื่อตอนที่ 1 ได้เล่าถึง Self study ของหลักสูตร ENGLISH COMMUNICATION FOR LIBRARIANS AND INFORMATION PROFESSIONALS (EC-LIP) เป็นการเตรียมผู้เรียนก่อนเข้าชั้นเรียน เมื่อวันเรียนมาถึง ได้มีการพูดแนะนำสมาชิกแต่ละคนเป็นภาษาอังกฤษ เช่น ชื่อ และตำแหน่งหน้าที่ที่ปฏิบัติ หลังจากนั้น วิทยากรมีกิจกรรมอีกมากมาย ดังนี้

กิจกรรมที่ 1
What are the responsibilities of the librarian? Write down in note forms in the notepad provided the jobs of the librarian

จากนั้น ให้แต่ละคนไปหาสมาชิกคนอื่นๆ เพื่อให้พูดถึงงานของบรรณารักษ์ ในห้องสมุด ได้ฝึกพูดกันสนุกทั้งชั้นเรียน ต่างคนต่างต้องหาสมาชิกให้ได้อย่างน้อย 3 คน ในเวลาที่ไม่มากนัก ได้ฝึกพูด ได้รู้จักงานของคนอื่นมากขึ้น

กิจกรรมที่ 2 วิทยากรได้นำแบบฝึกหัดการสื่อสารระหว่างบรรณารักษ์และผู้ใช้มาปฏิบัติ กรณีที่ผู้ใช้หรือ customer พูดหรือสื่อสารเพื่อต้องการให้บรรณารักษ์บริการหรือช่วยเหลือ บรรณารักษ์หรือ Librarian ควรจะต้องตอบอย่างไร Continue reading English Communication for Librarians and Information Professionals (EC-LIP) (ตอนที่ 2)

English Communication for Librarians and Information Professionals (EC-LIP) (ตอนที่ 1)

จากการเรียนวิชา English Communication for Librarians and Information Professionals (EC-LIP) จำนวน 12 ชั่วโมงนั้น เพื่อให้สมาชิกทั้ง Digital Literacy CoP และ Training the Trainers CoP ได้เรียนรู้ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารในวิชาชีพของตนเอง โดยวิทยากร คือ รองศาสตราจารย์ สุชาดา นิมมานต์นิตย์ ได้ออกแบบหลักสูตร ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาที่มีความเฉพาะสำหรับบรรณารักษ์ อาจารย์ได้จัดเตรียมเนื้อหา เพื่อให้ผู้เข้าเรียนศึกษาและฝึกฝนด้วยตนเองก่อนเข้าชั้นเรียน มีทฤษฎี มีการฝึกฝน และหัดพูดในชั้นเรียน และสุดท้ายรวมเอาทฤษฎีทุกอย่างที่เรียนและที่มอบหมาย มานำเสนอในชั้นเรียน

แบบฝึกหัดแรกที่วิทยากรได้มอบหมายให้ ก็คือ การอ่าน (เป็น Self-study ก่อนถึงวันเรียนจริง)

Read the follow except from the article below and identify skills you have and skills you need to develop. Complete the following table with the ideas you have from the reading.

Partridge, H. and Lee, J. and Munro, C.(2010). Becoming “Librarian 2.0”: The Skills, Knowledge, and Attributes Required by Library and Information Science Professionals in a Web 2.0 World (and Beyond)
Retrieved from https://www.ideals.illinois.edu/bitstream/handle/2142/18735/59.1-2.partridge.pdf Continue reading English Communication for Librarians and Information Professionals (EC-LIP) (ตอนที่ 1)

zoomit เครื่องมือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ Present

เคยมั๊ยที่บางครั้งท่านต้อง Present งานบน Projector แล้วตัวหนังสือมันเล็กจนผู้ฟังมองแทบไม่เห็นหรือผู้ฟังไม่ทราบว่าท่านกำลังพูดถึงตรงส่วนไหนบนหน้าจอ

โปรแกรม Zoomit สามารถช่วยท่านได้ครับ และที่สำคัญเป็น Freeware ด้วย

Continue reading zoomit เครื่องมือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ Present

พูดแบบ TED

Talk like TED (พูดแบบ TED)
Talk like TED (พูดแบบ TED)

พูดแบบ TED หรือ Talk like TED : The 9 Public Speaking Secrets of the World’s Top Minds ได้มาจากงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ รีบอ่าน แต่กว่าจะอ่านจบก็ล่วงเลยมาหลายวันเหมือนกัน เพราะอ่านๆ หยุดๆ อ่านข้ามๆ ก็ไม่ได้ เพราะมีเรื่องผลการวิเคราะห์จากผู้เขียนที่นำเสนอเข้ามาประกอบ ทำให้ต้องอ่านและทำความเข้าใจไปอย่างช้า

พูดแบบ TED เขียนโดย คาร์ไมน์ แกลโล (Carmine Gallo) ภาษาไทยแปลโดย พลอยแสง เอกญาติ สรุปถึงเคล็ดลับการพูดในที่ชุมชนหรือที่สาธารณะ โดยวิเคราะห์การนำเสนอการพูดของ TED กว่า 500 ชุด และพูดคุยกับผู้พูดของ TED ที่ประสบผลสำเร็จ รวมทั้งยังสัมภาษณ์นักประสาทวิทยา นักจิตวิทยา และผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารชั้นนำระดับโลกเพื่อให้เข้าใจมากขึ้นว่าเหตุใด แนวคิดซึ่งเป็นพื้นฐานขององค์ประกอบเหล่านี้ถึงได้มีความสำคัญ สรุปได้ว่า การนำเสนอที่ได้รับความนิยมสูงสุดของ TED มีองค์ประกอบร่วมกัน 9 ประการ Continue reading พูดแบบ TED

การบรรยายของเด็กอัจริยะ เด็กชายธนัช เปลวเทียนยิ่งทวี

เด็กชายธนัช เปลวเทียนยิ่งทวี 1 ใน 15 คน เด็กอัจฉริยะของโลก มหาวิทยาลัยขอนแก่นเชิญไปบรรยาย เรื่อง  Smart Learning, Smart Learners – Khon Kaen University July 2014

ทั้งลีลาการพูด เนื้อหาที่สื่อสาร ข้อมูลเพียบ เทคนิค ฯลฯ สุดยอดจริงๆ มี 3 ตอน

ตอนที่ 1/3  https://youtu.be/46YbCMsDwXM?

ตอนที่ 2/3   https://youtu.be/ZenhsgwcWcI?

ตอนที่ 3/3 https://youtu.be/S27sWUvTD-I?

นำเสนอได้เก่งด้วย 2 วิธี

จากบทความของ David Lee King พูดถึงการที่ต้องไปนำเสนอในการบรรยาย การสัมมนา ในโอกาสต่างๆ เค้าก็ได้เรียนรู้ว่า การนำเสนอที่น่าสนใจ และทำให้เรานำเสนอได้ดีขึ้น มี 2 วิธี

ข้อแรก คือ นำเสนอแบบการเล่าเรื่อง (Tell a Story)
ข้อที่สอง คือ ตบท้ายว่าจะทำต่อไป (End with Next Steps)

การเล่าเรื่อง: นำเสนอแบบการเล่าเรื่อง ก็เพราะว่า การเล่าเรื่องเป็นสิ่งที่ติดตามได้ง่าย จดจำได้ง่าย เพราะเนื้อเรื่อง มีการตั้งต้น มีกลางเรื่อง และมีตอนจบ ในการเล่าเรื่องมีภาพเพื่อให้เห็นภาพได้มากกว่า มีแต่ตัวอักษร

ตัวอย่างเช่น  คุณอาจจะเล่าเรืองว่า

  • คุณจะพัฒนาห้องสมุดของคุณได้อย่างไร
  • ทำไมหน่วยงานของคุณถึงต้องการงบประมาณเพิ่มเติม
  • คุณทำงานอะไร   บริการใหม่ๆ ของคุณเป็นอย่างไร

ตบท้ายด้วยจะทำอะไร: ผู้นำเสนอมักจะพูดว่า ต่อไปเป็นสไลด์สุดท้ายแล้ว แต่ถ้าคุณเปลี่ยนตอนจบของการนำเสนอเพื่อให้ผู้ฟัง ทราบว่าคุณจะทำอะไรต่อไป เช่น

  • จะทำอะไรต่อไปในสัปดาห์หน้าหลังจากฟังการนำเสนอนี้แล้ว
  • เราจะทำอะไรที่แตกต่างไปจากนี้ หรือเปลี่ยนแปลงไปจากนี้
  • มี 3 ขั้นตอนที่สามารถทำได้ในวันพรุ่งนี้ เพื่อปรับปรุงบางอย่าง
  • ฉัน ควรจะทำอย่างไรกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตน่าจะลองเอาไปใช้ดูนะคะ

รายการอ้างอิง
King, David Lee. Two Ways to Improve Your Presentations. Retrieved March 26, 2015 from http://www.davidleeking.com/2015/02/19/two-ways-to-improve-your-presentations/