Category Archives: ฐานข้อมูลออนไลน์

การใช้หัวเรื่อง (Subject heading) ใน Library of congress Classification web

  1. เข้าเว็บไซต์ Classification web ด้วยลิงก์ https://classificationweb.net/ และกดที่ปุ่ม Log On เพื่อเข้าสู่ระบบ01
  2. เมื่อกรอกชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านแล้ว จะเข้ามายังหน้า Main Menu ดังภาพ

02

Continue reading การใช้หัวเรื่อง (Subject heading) ใน Library of congress Classification web

ประชุมคณะทำงานฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาครั้งที่ 3/2561

เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2561 ผู้เขียนได้เข้าร่วมประชุมคณะทำงานฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 3/2561 ณ สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

S__36380676

Continue reading ประชุมคณะทำงานฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาครั้งที่ 3/2561

ประชุมชี้แจงการบอกรับสมาชิกฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้นประจำปีงบประมาณ 2562

เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2561 ผู้เขียนได้เข้าร่วมประชุมชี้แจงการบอกรับสมาชิกฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้นประจำปีงบประมาณ 2562 ณ สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา

1539829556935

Continue reading ประชุมชี้แจงการบอกรับสมาชิกฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้นประจำปีงบประมาณ 2562

ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (TU e-Theses)


แต่เดิมการค้นหาวิทยานิพนธ์สักเล่ม ผู้ใช้บริการต้องเข้ามาค้นหา และใช้งานภายในห้องสมุดเท่านั้น หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จึง ได้จัดทำฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (TU eTheses) ขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถใช้งานได้จากทุกที่ ทุกเวลา นอกจากนั้น ยังเป็นการลดจำนวนตัวเล่มของวิทยานิพนธ์ เพื่อให้มีพื้นที่ภายในห้องสมุดเพิ่มขึ้นอีกด้วย

2DA4991E-5331-48F4-91CC-2DD7F19CF211

Continue reading ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (TU e-Theses)

รายชื่อวิทยานิพนธ์ “คณะนิติศาสตร์” แยกตามสาขาวิชา

รายชื่อวิทยานิพนธ์ของคณะนิติศาสตร์ แยกตามสาขาวิชา เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป ในการค้นหาข้อมูลวิทยานิพนธ์ในสาขาที่ตนเองสนใจ พร้อมลิงค์ Full Text สำหรับดาวน์โหลดรายการที่ต้องการ ข้อมูล update 28-05-2018

ค้นหาวิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กว่า 25,000 รายการ ในรูปแบบ Full Text ได้ที่นี่ 
http://beyond.library.tu.ac.th/cdm/search/collection/thesis

ay

#สาขากฎหมายอาญา ระหว่างปีการศึกษา 2551 – 2559
ดูรายชื่อได้ที่นี่ http://bit.ly/2QGKiIs

Continue reading รายชื่อวิทยานิพนธ์ “คณะนิติศาสตร์” แยกตามสาขาวิชา

Cambridge Librarians’ Day

เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2561 ผู้เขียนได้เข้าร่วมงาน Cambridge Librarians’ Day ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 7  ที่สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสำนักงานวิทยทรัพยากรร่วมกับสำนักพิมพ์ Cambridge University Press เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม

S__23052459

Continue reading Cambridge Librarians’ Day

แนะนำผลิตภัณฑ์จากสำนักพิมพ์ SAGE Publications

เมื่อวันที่ 1 มี.ค. 2559 เวลา 9.30 – 11.00 น. ผู้เขียนมีโอกาสได้เข้าฟังการแนะนำผลิตภัณฑ์จากสำนักพิมพ์ SAGE Publications โดยคุณ Rosalia Garcia

S__21839884

Continue reading แนะนำผลิตภัณฑ์จากสำนักพิมพ์ SAGE Publications

ห้องสมุด หาอะไรก็ไม่เจอ … จริงหรอ

Error

เคยมั้ยเข้าห้องสมุดมาหาอะไรก็ไม่เคยเจอ หรือค้นแล้วเจอมากมายจนไม่รู้จะเลือกใช้อะไรดี? วันนี้ผมจะมาคืนความสุขให้ทุกคนด้วยการแนะนำให้รู้จักการสืบค้นแบบง่ายๆ ตามสไตล์ของแอดกัน ด้วย Keywords & Limit search

เริ่มต้นเราจะกำหนด Keywords เพื่อใช้เป็นคำค้นก่อน เช่น Marketing strategy / Marine Law / การจัดการเชิงกลยุทธ์ / ศูนย์การค้า เป็นต้น จะเห็นว่า Keywords ที่ผมใช้มีลักษณะเป็นคำสั้นๆ ไม่ใช่ประโยคยาวๆ >> ถ้าค้นหาด้วยประโยคยาวๆ จะได้ผลการค้นหาน้อย หรืออาจจะไม่เจออะไรเลย <<

Continue reading ห้องสมุด หาอะไรก็ไม่เจอ … จริงหรอ

Digitization and Plagiarism Prevention

เครือข่ายพัฒนาคุณภาพวารสารวิชาการไทยครั้งที่ 9
เครือข่ายพัฒนาคุณภาพวารสารวิชาการไทยครั้งที่ 9

ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักหอสมุด และคณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้ร่วมกันจัดการประชุมเพื่อสร้างเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพวารสารวิชาการไทยครั้งที่ 9 ขึ้น Continue reading Digitization and Plagiarism Prevention

ทำความรู้จัก WorldCat knowledge base

WorldShare

หลังจากที่ผู้เขียนได้เคยเขียนเรื่อง Fulltext Finder ของ EBSCO ไปแล้ว ในครั้งนี้เราจะมาทำความรู้จักการดำเนินงาน update รายชื่อทรัพยากรในระบบของทาง OCLC กันบ้างค่ะ  ฐานข้อมูลที่ใช้ในเก็บข้อมูลนี้การเรียกว่า WorldCat knowledge base

WorldCat knowledge base เป็นหนึ่งในบริการที่อยู่ใน WorldShare Management Services (WMS) ใช้สำหรับบริหารจัดการและจัดเก็บรายชื่อวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูลออนไลน์ที่สำนักหอสมุดบอกรับ รวมทั้งวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่บอกรับกับสำนักพิมพ์ และหนังสืออ้างอิงอิเล็กทรอนิกส์ (E-Reference) ซึ่งเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ ทำให้สามารถสืบค้นแบบ one search ด้วยกล่องสืบค้น WorldCat Local ได้

แต่เดิมการทำ knowledge base จะรวมอยู่ในระบบ OCLC Service Configurarion เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2558 OCLC ประกาศว่าได้ยุติการพัฒนา OCLC Service Configurarion แล้ว ซึ่ง OCLC จะทำการ migrate ข้อมูลรายชื่อทรัพยากรใน knowledge base ของเดิมจาก OCLC Service Configurarion ไปสู่ WorldShare Management Services (WMS) โดยอัตโนมัติ

คู่มือสำหรับการตั้งค่าใน WorldCat knowledge base และการแสดงผลการสืบค้นใน WorldCat Local สามารถดาวน์โหลดได้ที่นี่ค่ะ