Category Archives: ห้องสมุด/พิพิธภัณฑ์

OCLC Global Council Meeting

A brief summary of OCLC November Global Council meeting written by George Needham, Vice President, Global and Regional Councils.

L1270607 L1270748 L1270755 L1270758

OCLC Global Council met in Dublin, Ohio, from November 10 to 12, 2014. Global Council is OCLC’s only structure elected directly by members from around the world. As such, it’s the voice of the membership. The Council is composed of 48 delegates and three officers. The delegates have four primary responsibilities: to elect six of the OCLC trustees; to approve or reject any changes to the cooperative’s foundation documents; to provide OCLC with input from the field on its directions; and to act as a conduit of communications between the members and the Board and staff. The last two roles were most in evidence at this meeting.

After morning meetings of the Communications Committee, the Executive Committee, the Regional Council caucuses, and a New Delegate Orientation session, Barbara Preece, 2014-2015 President of Global Council, opened the meeting by welcoming all attending. Council then recognized and honored Glenn Patton on his pending retirement, noting his achievements on behalf of libraries throughout his long career with OCLC.
Continue reading OCLC Global Council Meeting

การพัฒนาห้องสมุดมนุษย์ (Human Library) และเครือข่ายห้องสมุดมนุษย์ในประเทศไทย (Thailand Human Library Network):จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ

ผู้เขียน (ผศ.ดร.คงศักดิ์ สังฆมานนท์)  ได้กล่าวถึง การพัฒนาห้องสมุดมนุษย์ (Human Library) และเครือข่ายห้องสมุดมนุษย์ในประเทศไทย (Thailand Human Library Network)  ความหมาย และความเป็นมา  จากแนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดมนุษย์

ติดตามรายละเอียดได้ที่นี้

รายการอ้างอิง:
ผศ.ดร.คงศักดิ์ สังฆมานนท์   เรื่อง  การพัฒนาห้องสมุดมนุษย์ (Human Library) และเครือข่ายห้องสมุดมนุษย์ในประเทศไทย (Thailand Human Library Network):จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ  โดมทัศน์ 32,1 (มกราคม-มิถุนายน 2555)

มาทำความรู้จักกับ Altmetrics (ตอนที่ 1)

เนื่องจากไม่มีใครที่จะอ่านได้หมดทุกสิ่งอย่าง จึงทำให้เรายอมรับหรือมีความเชื่อมั่นกับการกรองผลงานทางวิชาการ ด้วยค่าการวัดคุณภาพ เช่น Impact factor, h-index, ค่า Citation ฯลฯ แต่ด้วยการเติบโตของเครื่องมือใหม่ๆ ทางออนไลน์ ทำให้มีตัวกรองใหม่ๆ เกิดขึ้น ซึ่งถือว่าเป็นการกรองหรือการวัดผลงานทางวิชาการ วิจัย ที่เป็นทางเลือก (Alternative metrics) หรือ Altmetrics เพราะ Altmetrics เป็นการวัดจำนวนที่ได้รับจากผู้อ่านด้วยวิธีการต่างๆ เช่น จำนวนการดูบทความ, จำนวนดาวน์โหลด, การ Tweet, การ post ขึ้น blog, การกด Likes, การกด Shares, การ Discussed, การ Cited เป็นต้น Altmetrics น่าจะเป็นตัววัดความนิยมของผลงานทางวิชาการ วิจัย ที่เสริมกับการวัดผลงานทางวิชาการ วิจัยแบบเดิม

Altmetrics เป็นการวัดที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เพียงข้อมูลปราฎในวันเดียวหรือสัปดาห์ แทนที่จะเป็นปีกว่าจะมีการอ้างอิงถึงผลงาน อาจารย์ในมหาวิทยาลัย ผู้บริหาร บรรณารักษ์ และสำนักพิมพ์ จึงเริ่มที่จะคุยกันถึงการใช้ประโยชน์ altmetrics และใช้อย่างไรกับการประเมินการมีส่วนร่วมทางวิชาการของนักวิจัย ห้องสมุดจึงจำเป็นต้องมีบทบาทสำคัญในการอำนวยความสะดวกหรือช่วยสื่อสารไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยงานวิจัยของมหาวิทยาลัย รวมทั้งนักวิจัย (นักศึกษา และคณาจารย์) และเจ้าหน้าที่ฝ่ายวิชาการของมหาวิทยาลัย

บรรณารักษ์เป็นผู้ที่ต้องสนับสนุนใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ การแจ้งงานวิจัยล่าสุด การสนับสนุนการทดลองด้วยการวัดแบบ altmetrics และการให้ความรู้เกี่ยวกับ altmetrics

รายการอ้างอิง:

Lapinski, Scott, Piwowar, Heather and Priem, Jason. How librarians can help prepare faculty for the next generation of research impact metrics. College & Research Libraries News vol. 74 no. 6 292-300. Retrieved 14112014 from http://crln.acrl.org/content/74/6/292.long

Priem J., Taraborelli D., Groth P., Neylon C., “Alt-metrics: A manifesto,”  Retrieved 14112014 from http://altmetrics.org/manifesto/

NGA ŪPOKO TUKUTUKU Maori Subject Headings Thesaurus

หัวข้อเรื่อง NGA ŪPOKO TUKUTUKU Maori Subject Headings Thesaurus  บรรยายในการประชุม OCLC ครั้งที่ 6  วันที่ 14 ตุลาคม 2557 ณ Jeju Grand Hotel        สาธารณรัฐเกาหลี กล่าวถึงพัฒนาการกำหนดหัวเรื่อง อรรถาภิธานศัพท์ภาษาเมารี บรรยายโดย Raewyn Paewai, Auckland Libraries and  Anne Reweti, Wellington City Libraries ประเทศนิวซีแลนด์

          CIMG2270

วิทยากรได้เริ่มต้นด้วยการร้องเพลงภาษาเมารี แล้วถึงเล่าเรื่องชนเผ่าเมารี ว่าป็นชาวพื้นเมืองของประเทศนิวซีแลนด์  ตั้งรกรากอยู่แถบแปซิฟิก โดยอพยพมาประมาณปี ค.ศ.1200 – 1400 มีการสืบทอดเรื่องเล่าจากปากต่อปาก  ข้อมูลจะถูกส่งผ่านทางเพลง การตั้งชื่อสถานที่ และการท่องจำ จนกระทั่งมิชชันนารีเข้ามาในปลายปี ค.ศ. 1800  จึงเป็นผู้นำกระบวนการพิมพ์และสร้างภาษาเขียนให้

Koru เป็นสัญลักษณ์ของการสร้างสรร โดยมีพื้นฐานจากรูปร่างของใบเฟิร์น ที่แสดงให้เห็นแนวคิดของการเคลื่อนไหวแบบไม่สิ้นสุด ชีวิตมีทั้งการเปลี่ยนแปลงและการอยู่กับที่เหมือนเดิม

1

Continue reading NGA ŪPOKO TUKUTUKU Maori Subject Headings Thesaurus

ร่วมกิจกรรม “ธรรมศาสตร์วิชาการเพื่อประชาชน” มีผู้สนใจชมศูนย์การเรียนรู้ฯและหอสมุดป๋วยฯ สุดคึกคัก

ระหว่างวันที่ 12-13 พฤศจิกายน 2557 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรม “ธรรมศาสตร์วิชาการเพื่อประชาชน”  ณ ศูนย์การประชุมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต เพื่อนำแนะหลักสูตรการเรียนการสอนและกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัยให้แก่นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาและกลุ่มผู้ปกครอง เสมือนการเปิดรััวเหลือง-แดง ดินแดนเสรีภาพให้น้องๆ ได้มาเยี่ยมชม  ซึ่งจะสถานที่จัดการแบ่งออกเป็น 4  แห่ง ได้แก่ ศูนย์การประชุมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นจุดลงทะเบียน อาคารปิยะชาติ ซึ่งจะมีบูธแนะนำคณะต่างๆ ในกลุ่มสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ สำหรับอาคารเรียนรวม SC. เป็นกลุ่มคณะสายสังคมศาสตร์ และอาคารบรรยายเรียนรวม บร. 4 กลุ่มคณะสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Continue reading ร่วมกิจกรรม “ธรรมศาสตร์วิชาการเพื่อประชาชน” มีผู้สนใจชมศูนย์การเรียนรู้ฯและหอสมุดป๋วยฯ สุดคึกคัก

Turnitin : Anti Plagiarism Software

turnitin2

Turnitin เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการ (Plagiarism Prevention)  เช่น บทความ ผลงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เป็นต้น โดยทำการการเปรียบเทียบคำซ้ำกับเอกสารต้นฉบับแบบคำต่อคำ และแสดงผลการเปรียบเทียบเป็นเปอร์เซ็น พร้อมชี้แหล่งที่มาของข้อมูลเอกสารต้นฉบับ ทำให้ง่ายต่อผู้ใช้ในการในการประเมินผลงานชิ้นนั้นๆ

Continue reading Turnitin : Anti Plagiarism Software

วัฒนธรรมองค์กรกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของห้องสมุดมหาวิทยาลัย

เมื่อกล่าวถึงการพัฒนาองค์การในยุคปัจจุบัน วัฒนธรรมองค์กรเป็นศัพท์ที่ต้องกล่าวถึง เพราะว่ามีบทบาทสำคัญทางการบริหาร เป็นกรอบวิธีการปฏิบัติสำหรับบุคคลากรในองค์การ ที่นอกเหนือจาก กฎ ระเบียบที่บังคับใช้ในองค์การ วัฒนธรรมองค์กรจึงมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของคนในองค์การ ที่สะท้อนภาพ กระบวนการทางความคิด การวางแผนยุทธศาสตร์การตัดสินใจขององค์การว่าควรมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร และองค์การที่ต้องปรับตัวอย่างรวดเร็วนั้น ต้องใช้วัฒนธรรมองค์กรเป็นตัวกำหนดทิศทางของการพัฒนาโดยใช้ทรัพยากรมนุษย์เป็นกลไกในการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ภายใต้บริบทที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในสังคมโลกห้องสมุดมหาวิทยาลัย ควรกำหนดวัฒนธรรมตนเองอย่างไรในภาวะปัจจุบัน  ติดตามรายละเอียดได้ที่นี้

รายการอ้างอิง:
สุกัญญา มกุฏอรฤดี  เรื่อง วัฒนธรรมองค์กรกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของห้องสมุดมหาวิทยาลัย. โดมทัศน์ 32,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2554)

โครงงาน “How to use library like a boss” จุดประกายนักศึกษารักหนังสือและห้องสมุด

หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์  นอกจากจะเป็นห้องสมุดกลางของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตแล้ว ยังเป็นพื้นที่ให้น้องๆ ได้เรียนรู้และทำกิจกรรมต่างๆ มากมาย รวมทั้งการเป็นสถานที่ให้น้องๆ ได้คิดและสร้างสรรค์โครงงานใน TU 100  วิชาพลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคม  Continue reading โครงงาน “How to use library like a boss” จุดประกายนักศึกษารักหนังสือและห้องสมุด

ห้องสมุดกับการแข่งขันที่กว้างขึ้น

ภาพลักษณ์ในอดีตของห้องสมุดส่วนใหญ่จะเป็นรูปแบบของหน่วยงานที่ให้บริการสารนิเทศแบบไม่คิดค่าบริการ บริการทุกอย่างถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติ แต่หลายปีที่ผ่านมาพบว่ามีแนวโน้มการใช้ห้องสมุดลดลง และมีการเข้าใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นแทนการเข้ามาใช้ห้องสมุด บทบาทของห้องสมุด จะเปลี่ยนไป และมีพัฒนาการเรื่อยมา เช่น การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้มากขึ้น นอกจากนี้ยังนำแนวการตลาดมาใช้ในการส่งเสริมการบริการห้องสมุด โดยผู้ใช้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการบริการสารสนเทศ และการดำรงอยู่ของห้องสมุด  Continue reading ห้องสมุดกับการแข่งขันที่กว้างขึ้น

The Changes in Researchers’ Expectations of Libraries and Publishers: Findings from SCREAL Survey

หัวข้อเรื่อง The Changes in Researchers’ Expectations of Libraries and Publishers: Findings from SCREAL Survey บรรยายในการประชุม OCLC ครั้งที่ 6 วันที่ 13 ตุลาคม 2557 ณ Jeju Grand Hotel สาธารณรัฐเกาหลี เป็นเรื่องความคาดหวังของนักวิจัยในการเข้าถึงข้อมูลของห้องสมุดและสำนักพิมพ์: กรณีศึกษาจาก SCREAL Survey บรรยายโดย Yoshinori Sato จาก Tohoku Gakuin University ประเทศญี่ปุ่น

งานวิจัยนี้ กล่าวถึง การสำรวจการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศญี่ปุ่น ด้วย SCREAL Survey  ซึ่ง   SCREAL ย่อมาจาก The Standing Committee for Research on Academic Libraries  เป็นคณะกรรมการที่ตั้งเขึ้นเพื่อทำวิจัยห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา  ตั้งแต่ปี 2550  ได้แก่

  1. Hiroshi Itsumura, University of Tsukuba
  2. Keiko Kurata, Keio University
  3. Hiroya Takeuchi, Chiba University
  4. Kenji Koyama, Nihon University
  5. Mine Shinji, Mie University
  6. Syun Tutiya, NIAD-UE
  7. Sho Sato, Doshisha University
  8. Yoshinori Sato, Tohoku Gakuin University

โดยผลการวิจัยมี ดังนี้

Continue reading The Changes in Researchers’ Expectations of Libraries and Publishers: Findings from SCREAL Survey