All posts by Itsaya Meengern

การลงรายการชื่อภรรยาของบุคคลที่มีบรรดาศักดิ์ หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ในอดีตบุคคลผู้มีตำแหน่งทางราชการจะได้รับพระราชทานราชทินนามและบรรดาศักดิ์ เรียกโดยรวมว่าบุคคลที่มีบรรดาศักดิ์ เช่น เจ้าพระยายมราช เจ้าพระยาโกษาธิบดี และพระยาจุฬาราชมนตรี เป็นต้น ซึ่งภรรยาของบุคคลที่มีบรรดาศักดิ์สามารถใช้ราชทินนามของสามีเป็นนามของตนเองได้ เช่น ท่านผู้หญิงพระเสด็จสุเรนทราธิบดี คุณหญิงดำรงแพทยาคุณ นางธนรักษ์พิสิษฐ์ เป็นต้น โดยอ้างอิงจาก ”พระราชกฤษฎีกาให้ใช้คำนำนามสัตรี พระพุทธศักราช ๒๔๖๐  โดยสามารถสรุปเนื้อหาหลักได้ดังนี้

Continue reading การลงรายการชื่อภรรยาของบุคคลที่มีบรรดาศักดิ์ หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การพิจารณาลงรายการหลักของทรัพยากรสารสนเทศ

รายการทางบรรณานุกรมเป็นสิ่งสำคัญ สำหรับช่วยให้ผู้ใช้สืบค้นทรัพยากรสารสนเทศที่ตนเองต้องการ ซึ่งมีด้วยกันหลายรายการที่ใช้สืบค้นทรัพยากรฯ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อหน่วยงานที่รับผิดชอบ ชื่อเรื่อง ชื่อการประชุม เป็นต้น  บรรณารักษ์ผู้ลงรายการบรรณานุกรมจะเป็นผู้พิจารณาเลือกข้อมูลเหล่านี้ 1 รายการ เพื่อใช้เป็นรายการหลัก (Main entry) และข้อมูลที่เหลือจะเป็นรายการเพิ่ม (Added entry)

Continue reading การพิจารณาลงรายการหลักของทรัพยากรสารสนเทศ

การใช้หัวเรื่องย่อยในหัวเรื่องทางการแพทย์

หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่มีเนื้อหาทางการแพทย์เข้าห้องสมุดเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ ทางฝ่ายจัดการทรัพยากรสารสนเทศจึงกำหนดหัวเรื่องเฉพาะสำหรับทรัพยากรฯทางการแพทย์ เพื่อให้หัวเรื่องที่ครอบคลุมและตรงกับเนื้อหาของทรัพยากรมากที่สุด โดยใช้หัวเรื่องของLC (Library of Congress) และNLM (National Library of Medicine)  ถ้าเนื้อหาส่วนใหญ่ของทรัพยากรเป็นทางด้านสังคมศาสตร์จะให้หัวเรื่อง LC แต่ถ้าเนื้อหาเป็นทางแพทยศาสตร์จะให้หัวเรื่อง NLM
สำหรับหัวเรื่องทางการแพทย์NLM ที่หอสมุดใช้อยู่ในปัจจุบัน มีกฎการให้หัวเรื่องย่อยกลุ่มบุคคลและชื่อภูมิศาสตร์ที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ในการให้หัวเรื่องทางการแพทย์แก่บรรณารักษ์ ดังต่อไปนี้

Continue reading การใช้หัวเรื่องย่อยในหัวเรื่องทางการแพทย์

การสร้างระบบข้อมูลเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ

วันที่1-3 มิถุนายน 2559 ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมอบรมเรื่อง เทคนิคการเขียนเพื่อนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ โดยวิทยากรประกอบด้วย
อ.จริยา บุณยะประภัศร วิทยากรอิสระและที่ปรึกษาการบริหารจัดการองค์กรและบริหารทรัพยากรมนุษย์
ผศ.ม.ล.ฐิติรัตน์ ลดาวัลย์ อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้ และเทคนิคการเขียนเพื่อนำเสนอที่เป็นประโยชน์แก่ผู้เข้าอบรมหลายเรื่อง เนื่องจากเนื้อหาที่อบรมทั้ง 3 วัน มีจำนวนมาก ผู้เขียนจึงขอแบ่งนำเสนอความรู้ที่ได้อบรมมาตามหัวข้อสำคัญ ในบทความนี้จะนำเสนอเรื่อง การสร้างระบบข้อมูลเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ มีกระบวนการสำคัญดังนี้ Continue reading การสร้างระบบข้อมูลเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ

หนังสือ “พันครั้งที่หวั่นไหว กว่าจะเป็นผู้ใหญ่”

คิมรันโด  เขียน
อมรรัตน์ ทิราพงษ์  แปล
สำนักพิมพ์ Springbooks

Kimrando

                                                รูปภาพจากสำนักพิมพ์ Springbooks

             พันครั้งที่หวั่นไหว กว่าจะเป็นผู้ใหญ่ เป็นอีกหนี่งผลงานของอาจารย์ คิมรันโด อาจารย์ประจำภาควิชาการบริโภค คณะเคหศาสตร์ มหาวิทยาลัยโซล (Seoul National University) ผลงานที่สร้างชื่อให้กับอาจารย์คือ หนังสือ “เพราะเป็นวัยรุ่นจึงเจ็บปวด” ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในประเทศเกาหลีและเป็นที่รู้จักระดับหนึ่งในประเทศไทย แต่สำหรับเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้จะเน้นข้อคิดให้กับคนวัยทำงาน ที่ต้องพบกับความยากลำบากหลายอย่าง เปรียบเหมือนต้องผ่านความเจ็บปวดพันครั้งถึงจะก้าวสู่การเป็นผู้ใหญ่ เนื้อหามีทั้งหมด 33 บท กล่าวถึงชีวิตการทำงาน ชีวิตครอบครัว ปัญหาส่วนตัวที่อาจทำให้ท้อแท้ สิ้นหวัง  ดังนั้นเราจะก้าวผ่านความเจ็บปวดนี้ไปได้อย่างไร หนังสือเล่มนี้อาจไม่ได้บอกวิธีแก้ปัญหาให้กับผู้อ่านโดยตรง แต่เหมือนเป็นข้อคิดให้แก่ผู้อ่านที่อาจกำลังท้อแท้ เหนื่อยล้าจากชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว ผู้ที่ขาดแรงบันดาลใจในชีวิต หรือคนที่ใช้ชีวิตอย่างประมาท โดยบทความนี้จะขอยกตัวอย่างเนื้อหาบางส่วนในหนังสือขึ้นมากล่าว

Continue reading หนังสือ “พันครั้งที่หวั่นไหว กว่าจะเป็นผู้ใหญ่”

Applied Mind Map for KM

การประชุมวิชาการประจำปี 2558 สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ของวันที่ 4 กันยายน 2558 ภายใต้หัวข้อ “คิดใหม่ ทำใหม่ บรรณารักษ์ยุคใหม่” หรือ “Librarianship : the Next Generation”  ช่วงบ่าย เป็นการบรรยายหัวข้อ “  Applied Mind Map for KM”  วิทยากรคือ อาจารย์ดำเกิง ไรวา   เป็นผู้เชี่ยวชาญการสอนเรื่องการนำ Mind Map ไปประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน โดยเฉพาะทางด้านการตลาด  การขาย การสร้างความสัมพันธ์ในองค์กร และ การสร้างเครือข่ายทางธุรกิจ

Mindmap1

My map 1

Continue reading Applied Mind Map for KM

Mahidol R2R e-Journal : ทางเลือกสำหรับการเผยแพร่บทความวิจัยR2R ของบุคลากรสายสนับสนุน

 

การอบรมหัวข้อเรื่อง “การนำบทความวิจัย R2R ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ” จัดโดยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต   ซึ่งผศ.ดร.จิตรลดา อมรวัฒนา บรรณาธิการวารสาร Mahidol R2R e-Journal และคณะได้แนะนำวารสารและขั้นตอนการส่งบทความวิจัยเพื่อขอพิจารณาตีพิมพ์

Continue reading Mahidol R2R e-Journal : ทางเลือกสำหรับการเผยแพร่บทความวิจัยR2R ของบุคลากรสายสนับสนุน

เทคนิคการจัดทำคู่มือปฎิบัติงาน ตอนที่ 2

เทคนิคการจัดทำคู่มือปฎิบัติงาน ตอนที่ 2 ผู้เขียนจะอธิบายถึง การจัดทำเอกสารคู่มือปฏิบัติงาน

ก่อนเริ่มทำคู่มือปฏิบัติงาน

  • คู่มือปฏิบัติงานที่จะจัดทำควรได้รับความเห็นชอบ สนับสนุนและเห็นถึงความสำคัญจากผู้บริหาร
  • วางแผนการจัดทำคู่มือ โดยจัดลำดับความสำคัญก่อน-หลังเรื่องที่จะต้องเขียนในคู่มือ และกำหนดระยะเวลาการทำงาน รวมถึงผู้รับผิดชอบ
  • การจัดทำคู่มือเมื่อเริ่มต้นแล้วควรทำให้สำเร็จ ดังนั้นควรทำอย่างต่อเนื่อง ไม่ควรทำๆ หยุดๆ เพราะจะทำให้เกิดความเบื่อหน่าย การจัดทำคู่มือจะไม่สำเร็จ

Continue reading เทคนิคการจัดทำคู่มือปฎิบัติงาน ตอนที่ 2

เทคนิคการจัดทำคู่มือปฎิบัติงาน ตอนที่ 1: การเขียน Flow Chart

สำนักเสริมศึกษาและบริการสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดฝึกอบรบเรื่องเทคนิคการจัดทำคู่มือปฎิบัติงาน เมื่อวันที่ 22-24 เมษายน 2558 ที่ผ่านมา ในโอกาสนี้ผู้เขียนจึงนำความรู้ที่ได้อบรมมาถ่ายทอดต่อผู้ที่สนใจ ผู้เขียนหวังว่าข้อมูลจะเป็นประโยชน์แก่ผู้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานไม่มากก็น้อย

Continue reading เทคนิคการจัดทำคู่มือปฎิบัติงาน ตอนที่ 1: การเขียน Flow Chart